ได้ลดหย่อนภาษี ได้ผลตอบแทน ได้ความคุ้มครองจากประกันสะสมทรัพย์ 6 แบบ

3652 จำนวนผู้เข้าชม  | 

ประกันสะสมทรัพย์

เพื่อประหยัดภาษีอย่างถูกกฎสรรพากร
เราต้องเริ่มหาประกันที่จะมาช่วยแบ่งเบาภาระภาษี ประกันสะสมทรัพย์เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง วันนี้ขอแนะนำเมนูชุดออมทรัพย์ ได้ทั้งผลตอบแทนจากประกันสะสมทรัพย์ ได้ทั้งประหยัดภาษีจากการลดหย่อนแบบแสนแรกติดต่อกันถึง 16 ปี

เคสตัวอย่างในวันนี้ เป็นหญิงอายุ 35 ต้องการออมเงินเตรียมเกษียณแบบ Early Retire นับจากนี้อีก 20 ปีคือเมื่ออายุ 55 และยังต้องการให้ได้สิทธิ์ลดหย่อนภาษีด้วย ดังนั้นจึงแนะนำประกันสะสมทรัพย์ แบบสไมล์ เซฟเวอร์ 20/16 เป็นแบบออมเงิน 20 ปีตามต้องการพอดี พอเกษียณปุ้บก็มีเงินก้อนปั๊บ และเป็นแบบที่ทยอยออมทีละน้อยๆ ต่อเนื่อง 16 ปี ไม่ต้องใช้เงินก้อน และลดหย่อนภาษีได้ทุกปีด้วย
16 = ค่อยๆ ทยอยออม 16 งวด
20 = รับเงินก้อนและวันเกษียณในอีก 20 ปีข้างหน้าเมื่ออายุ 55
โดยมีหลากหลายเมนูให้เลือกตามกำลังทรัพย์หรือวงเงินที่ต้องการลดหย่อนภาษีต่อปี ขนาด SS, S, M, L, XL หรือ XXL
=====================================
 
ประกันสะสมทรัพย์
 
ประกันสะสมทรัพย์

 หญิง อายุ 35

ออมเงินปีละ 20,595 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 329,520
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 360,000
ผลประโยชน์ 30,480
คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 300,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 360,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 335  บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

ลดหย่อนภาษี

➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 20,595 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ทั้งหมด
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 329,520
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       329,520 x 20% = 65,904 บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       65,904 + 30,480  = 96,384
ข้อแนะนำเพิ่มเติม : แนะนำทำสัญญาเพิ่มเติมยกเว้นผู้ชำระเบี้ยกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร หากเกิดเหตุไม่คาดฝันจากอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วย จะไม่ต้องจ่ายเบี้ยไปตลอดสัญญาและเมื่อครบกำหนดจะได้รับเงินคืนเต็มจำนวนเหมือนเดิม
WP
โดยทุนแบบนี้ ค่าเบี้ยประกันเพียง 335.70 บาทต่อปี (คงที่ 16 ปี)
คุ้มครองเพื่อยกเว้นการชำระเบี้ยของผู้เอาประกันกรณีเกิดทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร และคุ้มครองตลอดระยะเวลา 16 ปีที่อยู่ในช่วงของการชำระเบี้ย
ยกเว้นผู้ชำระเบี้ย
=====================================

 
ประกันสะสมทรัพย์
ประกันสะสมทรัพย์

หญิง อายุ 35
ออมเงินปีละ 27,460 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 439,360
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 480,000
ผลประโยชน์ 40,640
 คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 400,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 480,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 447  บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

ประกันสะสมทรัพย์ 
➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 27,460 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ทั้งหมด
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 439,360
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       439,360 x 20% = 87,872 บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       87,872 + 40,640  = 128,512
===========
=========================

 
ประกันสะสมทรัพย์
ประกันสะสมทรัพย์

หญิง อายุ 35

ออมเงินปีละ 41,190 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 659,040
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 720,000
ผลประโยชน์ 60,960
คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 600,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 720,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 671  บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

ประกันสะสมทรัพย์

➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 41,190 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ทั้งหมด
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 659,040
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       659,040x 20% = 131,808บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       131,808 + 60,960  = 192,768
=================================

 
ประกันสะสมทรัพย์
 
ประกันสะสมทรัพย์

หญิง อายุ 35

ออมเงินปีละ 48,055 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 768,880
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 840,000
ผลประโยชน์ 71,120 
คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 700,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 840,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 783 บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

ประกันสะสมทรัพย์
➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 48,055 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ทั้งหมด
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 768,880
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       768,880 x 20% = 153,776 บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       153,776 + 71,120   = 224,896
====================================

 
ประกันสะสมทรัพย์
ประกันสะสมทรัพย์

 หญิง อายุ 35
ออมเงินปีละ 68,650 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 1,098,400
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 1,200,000
ผลประโยชน์ 101,600 
 คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 1,000,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 1,200,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 1,119 บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร


ประกันสะสมทรัพย์
➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 68,650 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ทั้งหมด
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 1,098,400
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       1,098,400 x 20% = 219,680 บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       219,680 + 101,600 = 321,280
====================================
 
 
ประกันสะสมทรัพย์
ประกันสะสมทรัพย์
 
 
หญิง อายุ 35

ออมเงินปีละ 102,975 ติดต่อกัน 16 ปี รวมเงินออม 1,647,600
ได้รับเงินเมื่อครบ 20 ปี = 1,800,000
ผลประโยชน์ 152,400
 คุ้มครองชีวิตเริ่มต้น 1,500,000
ตั้งแต่ปีที่ 11 เพิ่มเป็น 1,800,000
ถ้าทำยกเว้นผู้ชำระเบี้ยด้วยจะเพิ่มเบี้ยอีก 1,678 บาท
จะคุ้มครองไม่ต้องชำระเบี้ยในกรณีทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร

ประกันสะสม
 
➢➢ เบี้ยที่จ่ายปีละ 102,975 ใช้ลดหย่อนภาษีได้ปีละ 100,000
➢➢ รวม 16 ปี จะคิดเป็นเบี้ยที่ลดหย่อนภาษีทั้งหมด 1,600,000
➢➢ ถ้าฐานภาษี 20% เท่ากับประหยัดเงินภาษีไปได้สูงถึง 
       1,600,000 x 20% = 320,000 บาท
➢➢ เมื่อรวมกับผลตอบแทนจากประกันออมทรัพย์
       320,000 + 152,400 = 472,400
====================================

หากต้องการวางแผนเพื่อประหยัดภาษีด้วยประกันชีวิต
ปรึกษา ณภัชชา ได้ที่ ไลน์ : 0849290088

ประกันชีวิต

ติดต่อสอบถาม เช็คเบี้ย หรือปรึกษาการวางแผนประกัน
ณภัชชา พงศ์วัฒนกิจกุล, CFP® , MDRT
นักวางแผนการเงิน คุณวุฒิ CFP (Certified Financial Planner)
ผู้วางแผนการลงทุน (IP License) และ ผู้แนะนำการลงทุน (IC License)
ผู้จัดการขาย Triple A  บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)

หากใครมีข้อสงสัย ต้องการสอบถามหรือปรึกษาเพิ่มเติม
ติดต่อ และ ติดตามอัพเดตเรื่องน่ารู้ทางการเงินกับพี่แผน ได้ทาง
วางแผน.com (wangpaan.com)
Line: @Wangpaan
Facebook: Wangpaan
Twitter: @Wangpaan
Youtube: Wangpaan

อย่าลืมกด Like, Follow และ Subscript จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากพี่แผนนะครับ

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้